วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Grantสิทธิ์เข้าถึงจากภายนอก


 # GRANT ALL PRIVILEGES ON *.* TO 'root'@'%' IDENTIFIED BY '123456' ;
# GRANT SELECT ON *.* TO 'root'@'%' IDENTIFIED BY '123456';
# SELECT * FROM mysql.user;
# UPDATE mysql.user set password=PASSWORD("123456") WHERE user='root';
# FLUSH PRIVILEGES ; ลองดูนะครับ

วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

การ Grant สิทธิ์ ให้User sa

การ grant สิทธิให้ user sa


บทความนี้ เขียนขึ้นเพื่อแก้ไขการ connect mysql ไม่ได้ เนื่องจากผลกระทบหลังจาก Upgrade MySQL 5.5.31

ปกติ หลังจาก Upgrade MySQL แล้ว hosxp_pcu ก็ใช้งานได้เลย
****แต่มีบางเครื่อง ที่ไม่สามารถ connect mysql ได้ ย้ำนะครับ เป็นบางเครื่องเท่านั้น**** 

วิธีแก้ไข

Grant สิทธิ์

คือผมดูแล้วมันเกิดจาก mysql ยังไม่ทำงานตาม my.cnf อ่ะครับ อาจเป็นเพราะว่าลง Mysql ก่อนแล้วคือทำ
my.cnf ทีหลัง
วิธีแก้คือ 
1. stop mysql ก่อนโดยใช้คำสั่ง /etc/init.d/./mysql stop
2.ลบไฟล์ ibdata1,ib_logfile0, ib_logfile1 ที่อยู่ใน /var/lib/mysql อาจจำลบ database hos ออกด้วยก็ได้นะครับถ้าหากยังมีของจริงอยู่ใน server หลัก
3.เพิ่ม fucntion ตัวนี้ log_bin_trust_function_creators = 1 ใน my.cnf  ตรงส่วน [mysqld] ถ้ามีแล้วก็ข้ามเลยครับ
4.สั่ง start mysql ด้วย /etc/init.d/./mysql start
5.สั่ง upgrade mysql ด้วย mysql_upgrade -u root หรือถ้าเคย upgrade แล้วก็สั่งด้วย mysql_upgrade --force -u root
6.ใช้คำสั่ง mysql_fix_privilege_tables
7.เข้าใช้งาน shell ของโปรแกรม mysql ด้วย mysql -u root แล้วเพิ่ม fucntion ตัวนี้นะครับ SET GLOBAL log_bin_trust_function_creators = 1;
8.สั่ง restart mysql ด้วยคำสั่ง /etc/init.d/./mysql restart

**อย่าลืม grant สิทธิ์ ตามนี้นะครับ
mysql>grant all on *.* to youruser@'%' identified by 'youruser' with grant option; ส่วนนี้ให้ใช้ user ของตัวเองแทน sa จะปลอดถัยกว่าครับ
mysql>grant super on  *.* to sa@'%' identified by 'sa';
mysql>grant all privileges on *.* to sa@'%' identified by 'sa' with grant option;
mysql>flush privileges;

เสร็จแล้วครับต่อไปก็สร้างฐานข้อมูลและ replicate ใหม่ได้เลย
ที่มา http://hosxp.net/smf2/index.php?topic=13868.0

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

การจัดการ library ในภาษา PHP ด้วย Composer

การจัดการ library ในภาษา PHP ด้วย Composer !!!

    Composer คืออะไร?

    Composer คือระบบจัดการไลบราลี่ภายนอกของ php ถูกสร้างขึ้นมาโดยนำแนวคิดมาจากระบบจัดการไลบราลี่ของ node.js,ruby ที่ต้องสร้างขึ้นเพราะ ของเดิมของ php คือ pear ไม่มีการพัฒนามากว่า 5 ปีเเล้ว และแนวคิดของ composer ต่างจาก pear ตรงที่ตัวไลบราลี่จะไม่ถูกติดตั้งในระดับที่สามารถถูกเรียกใช้จากที่ไหนก็ได้ แต่จะใช้โฟลเดอร์ vendor เป็นตัวหลักในการเก็บไลบราลี่ต่างๆ
    ซึ่ง composer จะจัดการ dependency ที่เขียนด้วยภาษา php โดยมีแหล่งรวม packages ต่างๆอยู่ที่   http://packagist.org  ที่นี้เองจะรวม repository ส่วนของ dependency library จากหลายๆ ที่ไม่ว่าจะเป็น github bitbucket ..  หากเปรียบเทียบกับภาษาอื่น ตัว composer จะเหมือนกับ  gemfile ใน  Ruby , Maven ใน Java  หรือส่วนหนึ่งใน  Nuget  ของ .Net

    packagist.org

    เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมไลบราลี่ของ php เมื่อเราต้องการไลบราลี่เกี่ยวกับอะไร ก็เข้าไปค้นหาจากที่นี้ได้ครับ โปรเจคส่วนใหญ่จะมาจาก github กับ bitbucket


    ประโยชน์หลัก

        - ลดเวลาการค้นหาไลบราลี่ที่เราต้องการ เพราะไลบราลี่ของ php ที่ใช้มาตรฐาน psr แทบจะทุกตัวใช้ packagist.org ในการขึ้นทะเบียนว่าสามารถใช้ร่วมกับ composer ได้
        - ถ้าไลบราลี่ตัวนั้นมีการอัพเดท เราสามารถติดตามได้โดยไม่ต้องเสียเวลาเข้าไปตรวจที่หน้าเว็บ
        - ลดการสร้างไลบราลี่ซ้ำซ้อน เมื่อเราต้องการสร้างไลบราลี่ขึ้นมาใช้เอง ก็เข้าไปค้นดูก่อน ถ้าไม่มีค่อยสร้าง
        - ต่อไปถ้าไลบราลี่ของเราจะสามารถใช้งานได้กับทุกๆ framework ที่ใช้ composer

    การติดตั้ง Composer บน Ubuntu

    $sudo apt-get install curl
    $curl -s http://getcomposer.org/installer | php
    $php composer.phar
    $sudo mv composer.phar /usr/bin/composer

Githup Personal access tokens ใหม่นะ

Personal access tokens  Linux samsung r468

https://github.com/settings/tokens

63b7ced8bfa54432dfdf185a40213adb9c842e11

https://github.com/Pgans/Boontha
Pgans:okp=k9iu[6Pmk;mhosp.gan
Boontha
Yii-advanced:YiiDemoaf951629b86da967229d75b39afc60042fe770c0 
Yii2-user:200094bf95e389756c92713534c6defa46d52174
yii2b-devices:04394681f802c2a0f70a20f6cd7e51437f7df521
datePicker:b57fd8f918f87ba71bcde4f56dc15d502eac55d2


วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

PermitRootLogin yes กรณีremoteไม่ได้

นระยะหลังนี้ มาตรการด้านความปลอดภัย ได้มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น แม้กระทั่ง ssh  ที่เพิ่มข้อกำหนด
ด้านความปลอดภัยนี้มาให้ ดังนั้น หากคุณต้องการใช้โปรแกรม Secure Shell client ทำการ login ที่ root จะไม่สามารถ login ได้สำเร็จ แต่ใช้ user อื่น สามารถ login ได้ทันที  แต่ หากคุณทำการ login root ทีเครื่องแม่ข่าย จะสามารถ login เข้าได้อย่างดี 
             ตอนแรก นึกว่า ได้กำหนดรหัสผ่าน ผิด  หลายท่านคงนึกเช่นนี้ สรุปไม่ผิดหลอกครับ เพราะ ระบบได้ทำการป้องกัน ไว้ หากต้องการให้ใช้งานได้ สามารถทำได้ดังข้อความที่ต่อจากตรงนี้ไป แต่ขอเตือนไว้ก่อนนะครับ ว่า หากทำอย่างนี้แล้ว จะเสี่ยงต่อความปลอดภัยของระบบมากขึ้น 
Does your Ubuntu  box allow the root account login via ssh? By default, Ubuntu doesn't allow the root account to do ssh.
Enabling the root account to access ssh directly is a major security risk. However, you can enable it if you like to do so by doing the steps below:
  1. Edit the sshd_config file by sudo vi /etc/ssh/sshd_config
  2. Find the line PermitRootLogin no and change it to PermitRootLogin yes.
  3. Restart the ssh service by sudo /etc/init.d/ssh restart or sudo service ssh restart
You have now enabled ssh using the root account.
      หรือการ Restart อีกแบบหนึ่งคือคำสั่ง restart ssh (Ubuntu 14)
ที่มา http://askubuntu.com/questions/372380/remote-ssh-root-login-with-ubuntu-12-04

วันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Install LAMP Server (Apache, MySQL or MariaDB, PHP) On Ubuntu 14.10/14.04/13.10

Apache is an open-source multi-platform web server. It provides a full range of web server features including CGI, SSL and virtual domains.
To install Apache, enter the following command from your terminal:

Test Apache:

Open your web browser and navigate to http://localhost/ or http://server-ip-address/

วันพุธที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

2003 : Can't connect to MySQL server on 'localhost' (10061)

2003 : Can't connect to MySQL server on 'localhost' (10061)

เจอปัญหาการ connect mysql ระยะไกล "2003 : Can't connect to MySQL server on 'localhost' (10061)"
ภาพนี้เกิดจาก connect ด้วย โปรแกรม Navicat

ส่วนภาพนี้เกิดจาก connect ด้วย โปรแกรม MySQL Administrator

เอาล่ะ ทำงัยดี พี่ google น่าจะช่วยได้ แล้วก็ได้จริง ไปเจอที่  http://www.cyberciti.biz/tips/how-do-i-enable-remote-access-to-mysql-database-server.html  ก็ทำการแก้ตามที่เวบเค้าแนะนำ ก็ได้แฮะ  
เลยสรุปมาเฉพาะที่ได้แก้มา (ไม่รู้ถูกต้องตามหลักอ่ะป่าว อิอิ)  ได้ว่า
- เข้าไปที่ แก้ไฟล์   my.cnf   ที่ /etc/mysql/my.cnf  ด้วย nano หรือ vi ก็ได้ ตามถนัด
- หาบรรทัด ที่มี bind-address            = 127.0.0.1   
- แล้วเปลี่ยนเป็น #bind-address            = 127.0.0.1
- จากนั้นก็บันทึก แล้วสั่ง restart mysql ด้วย /etc/init.d/mysql restart
- เสร็จแล้วลอง connect mysql อีกที ก็ได้  ตามรูป

วันพุธที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

รหัสอาชีพ


รหัส อาชีพ
000 ไม่มีอาชีพ
001 เกษตรกรรม
002 รับจ้าง
003 ค้าขาย
004 รับราชการ
005 รัฐวิสาหกิจ
006 นักการเมือง
007 ทหาร,ตำรวจ
008 ประมง
009 ครู
010 อื่นๆ
012 เลี้ยงสัตว์
013 นักบวช,สมณะ
014 งานบ้าน
015 นักเรียน
900 หญิงบริการ
901 ไม่ระบุ

รหัสโรคเรื้อรัง สปสช.

รหัสโรคเรื้อรัง ของ สปสช.
โรค รหัส ICD
 เบาหวาน E11 – E14
ความดันเลือดสูง I10 – I15
 โรคหลอดเลือดสมอง I60 – I69
โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหัวใจขาดเลือด I20 – I25
โรคถุงลมปอดโป่งพองเรื้อรัง J43 – J44
 โรคหอบหืด J45 – J46

หมายเหตุ รหัสโรคเรื้อรังที่กำหนด ใช้ตรวจสอบเฉพาะข้อมูลของ สปสช.


รหัสสถานภาพสมรส

รหัสสถานภาพสมรส
รหัส รายละเอียด
1 โสด
2 คู่
3 หม้าย
4 หย่า
5 แยก
6 สมณะ
9 ไม่ทราบ

รหัสวัคซีน



17. รหัสชนิดวัคซีน

รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ(เดือน)
010 BCG บีซีจี ฉีด 0
011 BCGs บีซีจีเอส ฉีด ป1
021 dTs1 ดีทีเอส1 ฉีด ป1
022 dTs2 ดีทีเอส 2 ฉีด ป1
023 dTs3 ดีทีเอส 3 ฉีด ป2
024 dTs4 ดีทีเอส 4 ฉีด ป6
031 DTP1 ดีทีพี1 ฉีด 2
032 DTP2 ดีทีพี2 ฉีด 4
033 DTP3 ดีทีพี3 ฉีด 6

รหัสเชื้อชาติ/สัญชาติ

รหัสสัญชาติ
รหัส เชื้อชาติ/สัญชาติ
000 ไม่ระบุ
001 อังกฤษ
002 ปอร์ตุเกส
003 ดัตช์
004 เยอรมัน
005 ฝรั่งเศส
006 เดนมาร์ก
007 สวีเดน
008 สวิสเซอร์แลนด์
009 อิตาลี
010 นอร์เวย์

รหัสคลินิก/แผนกที่รับไว้รักษา สนย.5หลัก


หลักที่ 1 = ประเภขอบริการ 0 = ผู้ป่วยนอก 1 = ผู้ป่วยใน
หลักที่ 2-3 = แผนกที่รับไว้รักษาตามที่กำหนดไว้ด้านล่าง
หลักที่ 4-5 = คลิกนิกย่อย/ตึก ให้ รพ.กำหนดเอง
รหัสคลินิก
รหัส รายละเอียด
01 อายุรกรรม
02 ศัลยกรรม
03 สูติกรรม
04 นรีเวชกรรม
05 กุมารเวช
06 โสต ศอ นาสิก
07 จักษุ
08 ศัลกรรม
09 จิตเวช
10 รังสีวิทยา
11 ทันตกรรม
12 อื่นๆ