วันอาทิตย์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

เปิด Innodb #skip innnodb


เนื่องจาก MySQL เมื่อลงตามปกติแล้ว จะไม่ enable  innodb ไว้ให้
ทำให้เมื่อเรา create table โดยระบุ type เป็น innodb จะเกิดการ error (default ของ table จะเป็น MYISAM)

innodb คือประเภทของ Table ที่ทำให้สามารถสร้าง foreign key เพื่ออ้างอิงกับ table หลักได้
ดังนั้นการ enable innodb ให้ทำงานจึงจำเป็นสำหรับการ create table ที่จะต้องมีการใช้ Foreign key

การ enable innodb ทำได้ดังนี้
1. ไปที่ไฟล์  c:\appserv\mysql\my.ini  หรือถ้าไม่เจอให้ไปหาที่ c:\windows\my.ini หรือถ้าไม่เจอ
     ให้ search หาไฟล์ my.ini
2. เปิดไฟล์ my.ini ด้วย  notepad แล้ว ค้นหาคำว่า  skip-innodb
3. เมื่อเจอบรรทัดที่มีคำว่า skip-innodb แล้วให้ใส่เครื่องหมาย  #   ไว้หน้าบรรทัดนั้นแล้ว save
4. ทำการ restart เครื่อง
5. ลองสร้าง table ที่มี type เป็น innodb

วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

phpd.moph.go.th (cmi)

ระบบรายงานสนับสนุนข้อมูลสุขภาพฝระบบรายงานศูนย์ประสิทธิภาพ
http://phdb.moph.go.th/
wy2jas10953

วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

Enable SSH on Linux Mint 16/15 /14 / 13 / 12

I have noticed that a lot of people do not know how to enable SSH on Linux Mint systems, so I have decided to make this article.
openssh-server.
$ sudo apt-get update
$ sudo apt-get install openssh-server
เสร็จแล้วสามารถใช้เครื่องอื่น remoteได้เลยครับ....

วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

[RouterOS 6.14 ขึ้นไป Free Dynamic DNS ของ Mikrotik

ผมไปเจอบทความนี้ ขอบคุณมากทำได้จริงๆติหลังดมาหลายวัน
จากเดิมการที่เราจะใช้งาน Dynamic DNS ของเจ้าต่าง ๆ อาทิ no-ip, changeip, dyndns, freedns.afraid.org เราต้องไปนั่งสมัครเป็นสมาชิก แถมยังต้องวุ่นวายหาสคริปมาใส่เพื่อเช็ค IP, Update IP ของเราอีกต่างหาก แต่ต่อจากนี้ ความวุ่นวายนั้นจะไม่มีความจำเป็นอีกต่อไปแล้วครับ เพราะ Mikrotik ได้ออกบริการ Dynamic DNS ของตัวเองออกมา ให้เจ้าของอุปกรณ์ Mikrotik ทุกท่าน ได้ใช้งานกันโดยตรงเลยทีเดียว

ความต้องการ / Requirement
- ต้องใช้งาน RouterOS เป็นเวอร์ชั่น 6.14 ขึ้นไป (ผู้ใช้งานเวอร์ชั่นต่ำกว่าต้องอัพเดตก่อน)

ขั้นตอนการเปิดใช้งาน Free Dynamic DNS ของ Mikrotik

1. เข้า Winbox ไปยังเมนู IP -> Cloud

2. ติ๊ก Enable แล้วกด Apply


3. รอให้ตัว Mikrotik อัพเดตข้อมูลไปยังระบบ Cloud ของ Mikrotik สักครู่หนึ่ง
จากนั้นจะปรากฎข้อมูลดังนี้
- Public Address: เป็น IP อินเตอร์เน็ตของเรา
- DNS Name: คือชื่อ Dynamic DNS สำหรับเราที่จะใช้งาน โดยจะมาในรูปแบบของ serialnumber.sn.mynetname.net